Rider.in.th กิจกรรมปั่นจักรยานและข่าวสารชาวจักรยาน

  • หน้าแรก
  • ข่าวชาวจักรยาน
    • เปิดตัวจักรยานใหม่
    • Gadget จักรยาน
  • ปฏิทินกิจกรรม
    • ปฏิทินกิจกรรมปั่นจักรยาน
    • ปฏิทินงานจักรยาน
    • ส่งข้อมูลงานปั่นจักรยาน
  • ปั่นไป ยิ้มไป
  • รีวิว แนะนำ เส้นทางปั่น
    • เส้นทาง
  • นานาสาระ
  • รวมวีดีโอ ดีๆ
  • ค้นหาจักรยานหาย
 Rider.in.th กิจกรรมปั่นจักรยานและข่าวสารชาวจักรยาน
  • ส่งข้อมูลงานปั่นจักรยาน
  • ค้นหา
  • แจ้งจักรยานหาย
  • ติดต่อเรา
  • Sitemap
  • หน้าแรก
  • บทความ สาระ
  • มาปั่น พิชิตโรคเบาหวาน สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน

มาปั่น พิชิตโรคเบาหวาน สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน

Created
วันพฤหัสบดี, 31 ธันวาคม 2558

 

เพราะโรคเบาหวาน คือโรคหนึ่งที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาด แถมยังต้องหลีกเลี่ยงการออกกำลังกายบางชนิดที่อาจเกิดบาดแผลตามมาภายหลังอีกด้วย ซึ่งจักรยานก็อาจเป็นหนึ่งในนั้น วันนี้ FeelGood จึงขอหยิบยก คำถามค้างคาใจที่ว่า “การปั่นจักรยาน เป็นทางออกของเบาหวานได้หรือไม่?” มาเล่าสู่กันฟังเพื่อคลายข้อสงใส

เพราะการปั่นจักรยาน อาจเกิดอุบัติเหตุได้ทุกเมื่อ ดังนั้นผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน จึงต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ เพื่อไม่ให้เกิดบาดแผล

        โดยทั่วไปคนเป็นเบาหวาน มักละเลยเรื่องของการควบคุมอาหาร และการออกกำลังกาย โดยคิดว่าเมื่อรับประทานยาแล้วก็คงหาย จากโรค เหมือนโรคทั่วไป ซึ่งเป็นความเข้าใจผิด โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังไม่หายขาด การใช้ยาเพียงอย่างเดียวไม่สามารถควบคุมเบาหวานได้ ต้องรู้จักรับประทานอาหารให้ถูกสัดส่วนกับความต้องการของร่างกายด้วย       

       สำหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน นอกจากจะให้ความสำคัญ ในการควบคุมอาหารแล้ว การออกกำลังกายก็เป็นสิ่งที่แพทย์แนะนำเช่นกัน การปั่นจักรยาน จะช่วยเพิ่มภูมิต้านทาน และทำให้ร่างกายของเรามีความแข็งแรง ช่วยลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรคแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นให้น้อยลง แต่ข้อควรระวัง มักมีให้เราคำนึงเพิ่มขึ้นกว่าตอน ป้องกันอันตรายที่เกิดจากการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ การฉีกขาดของเส้นเอ็น และรอยฟกช้ำดำเขียว และบาดแผล อุปกรณ์ที่ช่วยป้องกันความปลอดภัย ต้องเตรียมพร้อม

       แน่นอนว่าการปั่นจักรยาน ทำให้การควบคุมเบาหวานง่ายขึ้น และทำให้น้ำหนักลด ถ้าไม่เคยปั่นจักรยานเลยให้เริ่มทีละน้อย ลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดแดงแข็ง เช่น ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง การคุมเบาหวานดีขึ้นเนื่องจากการเพิ่มการตอบสนองต่ออินซูลิน หลังออกกำลังกาย 48 ชั่วโมงร่างกายยังไวต่อ insulin หากออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจะทำให้ร่างกายตอบสนองต่อ insulin ดีขึ้นโดยที่น้ำหนักไม่เปลี่ยนแปลง

       ส่วนขั้นตอนในการปั่นจักรยานลดเบาหวานก็ง่ายๆ ดังนี้เลย

  1. จะต้อง warm up cool down อย่างละ 5 นาที
  2. สำหรับผู้ที่ฉีดอินซูลินควรหลีกเลี่ยงการปั่นเวลาที่อินซูลินออกฤทธิ์สูงสุด
  3. อินซูลินควรจะฉีดที่หน้าท้อง
  4. ไม่ควรปั่นกำลังกายหลังอาหารมื้อหนักโดยทันที
  5. งดออกปั่นเมื่อรู้สึกไม่สบาย
  6. จับชีพขจรขณะออกปั่นจักรยาน และควบคุมมิให้การเต้นของหัวใจเกินเป้าหมาย
  7. ควรปั่นไปเป็นกลุ่ม และพกบัตรประจำตัวว่าเป็นเบาหวาน

ขอคุณข้อมูลดีๆ จาก thaibike.net

ในอดีต Toyota เคยทำจักรยานมาก่อน 86 / 146 พาไปลุย ดีแคทลอน เอาท์เล็ต ( Decathlon ) สารพัดอุปกรณ์กีฬา ที่อลังการมาก เน้นจักรยาน
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
รู้จักโรคหัวใจวาย และทำความเข้าใจโรคหัวใจกับการออกกำลังกาย
รู้จักโรคหัวใจวาย และทำความเข้าใจโรคหัวใ...
ปั่นจักรยาน ทำให้ห่างไกล 6 โรคร้าย
ปั่นจักรยาน ทำให้ห่างไกล 6 โรคร้าย
  • Voting
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
  • Hits
    16584 views

เรื่องที่มีคนอ่านมากที่สุด

  • ใช้เกียร์จักรยานให้ถูก ขี่ง่ายไม่พังเร็ว
  • รู้ไหมทำไม ปั่นจักรยานแข็งแรงกว่าวิ่ง
  • การตั้งเกียร์จักรยาน คุณก็ทำเองได้
  • ปั่นจักรยานช้าหรือปั่นเร็วอันไหนเผาผลาญไ...
  • เทคนิคการซ้อมปั่นจักรยาน เพื่อพิชิต 100 ...
Facebook

TAGS CLOUD

  • หนังสือ
  • แนะนำทีม
  • เดินชมร้านจักรยาน
  • Bike for Mom
  • มือใหม่
  • เทคนิคซ้อมปั่น
  • gear
  • สุขภาพ
  • โภชนาการ
  • ภาพยนตร์
  • ดูแลรักษาจักรยาน
  • เสือภูเขา
  • MTB
  • Mountain bike
  • ลดน้ำหนัก
  • จักรยานเสือหมอบ
  • 100RPM Room
  • หน้าแรก
  • ข่าวชาวจักรยาน
  • ปฏิทินกิจกรรม
  • ปั่นไป ยิ้มไป
  • รีวิว แนะนำ เส้นทางปั่น
  • นานาสาระ
  • รวมวีดีโอ ดีๆ
  • ค้นหาจักรยานหาย